งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

                                   1. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา เรื่อง แผนที่ โดยใช้บทเรียนชุดสื่อประสม                                      สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยในชั้นเรียนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 159 คน โรงเรียนทุ่งตะโกวิทยา อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553)
ข้อเสนอแนะการนำไปใช้
1. บทเรียนชุดสื่อประสมที่ผลิตขึ้นควรมีการปรับปรุงหลายๆ ครั้งโดยควรทดลองกับนักเรียนที่มีพื้นฐานความรู้ที่แตกต่างกันเพื่อจะได้ปรับปรุงแก้ไขให้บทเรียนชุดสื่อประสมมีประสิทธิภาพมากขึ้น
2. ครูควรตระหนักถึงรายละเอียดเนื้อหาในบทเรียนชุดสื่อประสมให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนเพื่อให้บทเรียนชุดสื่อประสมเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด
        ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป
1. ควรนำบทเรียนชุดสื่อประสมไปเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยวิธีการสอนแบบอื่นๆ
2. ในการใช้สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษานั้นควรคำนึงถึงความเข้าใจและความรู้ที่นักเรียนได้รับควบคู่ไปกับความสนใจของนักเรียนเพื่อเป็นการช่วยเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงยิ่งขึ้น
แหล่งอ้างอิงข้อมูล    http://www.vcharkarn.com/vcafe/190934

2. .การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสังคมศึกษา  ศาสนา และวัฒนธรรม  ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3  ที่สอนโดยวิธีการสร้างศรัทธาโยนิโสมนสิการ กับวิธีการสอนแบบปกติ
แหล่งอ้างอิงข้อมูล  http://grad.vru.ac.th/pdf-journal/JourTs43/14-Surin.pdf

3. การพัฒนาบทเรียนสไลด์อิเล็กทรอนิกส์ เรื่องประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนวัดม่วง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต 2

แหล่งอ้างอิงข้อมูล
http://www.thapra.lib.su.ac.th/thesis/showthesis_th.asp?id=0000004269

4.การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ4MAT และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แผนผังความคิด

แหล่งอ้างอิงข้อมูลhttp://khoon.msu.ac.th/auth/reader/web/index.php?pdf=%2Ffull137%2Fianthong131772%2Ftitlepage.pdf&refid=ov76m8vjqlc6ek44qkp904l1j0


5. การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1เรื่อง คุณธรรมจริยธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม ระหว่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน และโดยใช้สถานการณ์จำลอง

ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป   
 2.1 ควรมีการวิจัยวิธีจัดการเรียนรู้แบบใช้สถานการณ์จำลองกับวิธีการเรียนรู้แบบอื่น เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความฉลาดทางอารมณ์ และ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์   2.2  ควรศึกษาความพึงพอใจหรือเจตคติของผู้เรียนที่มีต่อวิธีจัดการเรียนรู้ทั้งสองแบบว่ามีความพึงพอใจหรือมีเจตคติต่อวิธีการเรียนรู้อยู่ในระดับใด 

 2.3  ควรมีการวิจัยเปรียบเทียบระหว่างรูปแบบใช้ปัญหาเป็นฐานกับรูปแบบใช้สถานการณ์จำลองในกลุ่มตัวอย่างในระดับชั้นอื่น  เพื่อจะได้คำตอบที่ชัดเจนยิ่งขึ้นว่า  รูปแบบใด เหมาะสมกับนักเรียนกลุ่มใด  ระดับใด  และสถานศึกษาใดมากกว่ากัน  

แหล่งอ้างอิงข้อมูลhttp://khoon.msu.ac.th/auth/reader/web/index.php?pdf=%2Ffull137%2Fianthong131772%2Ftitlepage.pdf&refid=ov76m8vjqlc6ek44qkp904l1j0


6. การเปรียบเทียบผลการเรียน เรื่องภูมิศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการสอนบนเว็บแบบจำลองสถานการณ์กับการสอนปกติ
ขอเสนอแนะ  

1.  ขอเสนอแนะสําหรับการนําไปใช   
1.1  การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยใชบทเรยีนบนเว็บแบบจําลองสถานการณใหไดผลดี ควรสงเสริมใหนักเรยีนไดเรียนรูดวยตนเอง จึงจะสงผลใหบทเรียนบนเว็บเกดิประโยชนมากที่สดุ      
 1.2  กอนที่จะจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชบทเรียนบนเวบ็แบบจําลองสถานการณ ควรมี การแนะนําใหนักเรียนเกดิความเขาใจในวธิีการเรียนกอน เพราะนักเรยีนจะไมเกิดความสับสน เพราะ วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรดูังกลาวเปนเรอื่งใหมสาํหรับนักเรียนถานักเรียนไมเขาใจในวิธีการเรยีนอาจสงผลใหนกัเรียนไมประสบผลสําเร็จในการเรียน   
1.3  ควรมีการสอดแทรกคุณธรรมใหกับนกัเรียนในการเรียนรูจากบทเรียนบนเว็บ ในเรื่อง ความรับผิดชอบความซื่อสัตย  ความตรงตอเวลา เขาไปดวยเพอื่ใหผูเรียนมีคณุลักษณะอันพึงประสงค     
1.4  ในการจดัการเรียนการสอนดวยบทเรียนบนเวบ็  นอกจากผูเรียนจะไดรับความรทูี่มี อยูในบทเรยีนโดยตรงแลว  ผูวิจัยควรเพิ่มเติมดวยการบรรจุ เนื้อหาวิชาที่ เกี่ยวของกบัเนื้อหาวิชา ในบทเรียน  เพื่อใหผูเรียนสามารถสืบคนความรูเพิ่มเตมิเปนการสงเสริมการเรียนรูของผูเรียนให กวางขวางยิ่งขนึ้                  
2.  ขอเสนอแนะในการทําวิจยัครั้งตอไป   
2.1  ควรวิจยัเพื่อศึกษาผลของการใชบทเรียนบนเวบ็สําหรับนักเรยีนที่มรีะดับสติปญญา ต่ํา  หรือสมาธิสั้น  เพื่อจะไดแกปญหานักเรียนที่มีคุณลักษณะดังกลาว ใหสามารถเกดิการเรียนรไูด    
2.2  ควรมีการวิจัยปญหาและผลกระทบจากการเรียนดวยบทเรียนบนเวบ็ของผูเรียนที่มี คณุลักษณะแตกตางกัน   2.3  ควรมีการวิจัยเปรียบเทยีบระหวางการสอนโดยใชบทเรียนบนเว็บกับการสอนโดย ใชนวัตกรรมอื่น ๆ     
2.4  ควรมีการสรางและพัฒนาบทเรียนบนเว็บในเนื้อหาอื่นที่เปนปญหา และในกลุมสาระการเรียนรูอื่น  ๆ 

แหล่งอ้างอิงข้อมูล 
http://khoon.msu.ac.th/full126/nicom12454/titlepage.pdf

7. รายงานการใช้ชุดการสอนคิดแบบโยนิโสมนสิการกลุ่มสาระการเรียนรู้  สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2


 ผลการศึกษาครั้งนี้สอดคล้องกับงานวิจัยที่มีผู้ดำเนินการศึกษาไว้  อาทิ  สร้อยสุดา  มาดี (2551 : บทคัดย่อ) ได้ทำการวิจัยเรื่อง  ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ระหว่างการเรียนรู้ตามแนวคิดโยนิโสโยนิโสมนสิการและตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการและตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา  ผลการวิจัยปรากฏว่า  ผลการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการและตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา เป็นวิธีสอนที่มีแนวคิดว่าการเรียนรู้เกิดจากปัญญา  เน้นการแก้ปัญหาตามศักยภาพของนักเรียน ทำให้นักเรียนมีพัฒนาการคิด  ครูวิทยาศาสตร์สามารถนำแผนเหล่านี้ไปใช้จัดการเรียนการสอน  เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุผลตามจุดประสงค์ของรายวิชาต่อไป  พระมหาประทีป เกสรอินทร์ (2550 : บทคัดย่อ) ทำการวิจัยเรื่องผลการเรียนรู้โดยวิธีการสอนแบบสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ  เรื่องไตรสิกขา  กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมชั้นประถมศึกษาปีที่ 5  เพื่อศึกษาผลการเรียนรู้ของนักเรียนที่เรียนโดยวิธีการสอนแบบสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ  ผลการศึกษาค้นคว้าปรากฏว่า  แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยวิธีการสอนแบบสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ เรื่อง ไตรสิกขา มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเหมาะสม นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เพิ่มขึ้น นักเรียนมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก ดังนั้นแผนการจัดการเรียนรู้ โดยวิธีการสอนแบบสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ เรื่องไตรสิกขา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่พัฒนาขึ้นนี้เหมาะสมที่จะนำไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมต่อไป

การนำหลักโยนิโสมนสิการมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้นั้นส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ที่มีลำดับขั้นตอน ส่งผลดีต่อผลการเรียนของนักเรียน  โดยเฉพาะแนวคิดแบบคุณ โทษ และทางออก  ซึ่งเน้นกระบวนการวิเคราะห์  ซึ่งเป็นขั้นหนึ่งของการพัฒนาองค์ความรู้ที่ทำให้นักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์  ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้นด้วย

แหล่งอ้างอิงข้อมูล http://www.kroobannok.com/blog/26259

8.การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ผลการวิจัย พบว่า

1. องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ 4 องค์ประกอบคือ 1) หลักการของรูปแบบการเรียนการสอน 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบการเรียนการสอน 3) กระบวนการเรียนการสอน และ 4) การวัดและประเมินผล; วัตถุประสงค์ของรูปแบบ คือ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ; กระบวนการเรียนการสอน แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นการเตรียมการก่อนการเรียนการสอน และ 2) ขั้นการจัดกระบวนการเรียนการสอน; การวัดและประเมินผลใช้การวัดพัฒนาการของทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการประเมินตามสภาพจริง

แหล่งอ้างอิงข้อมูล  http://journal.oas.psu.ac.th/index.php/asj/article/view/48

9. Multimedia and Embedded Technologies Group (MET)
แหล่งอ้างอิงข้อมูล http://www.it.kmitl.ac.th/rd/research-lab/met


 10. การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ศาสนพิธีกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4


แหล่งอ้างอิงข้อมูล http://www.edu.nu.ac.th/selfaccess/researches/view_is.php?id=378

          

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น